top of page


‘ภูสามเส้า’ ร่องรอยวัฒนธรรมหินตั้งสู่ภูมิวัฒนธรรมของบ้านเมืองในยุคเกษตรกรรมสืบเนื่องปัจจุบัน
ภูสามเส้า เป็นหนึ่งในกลุ่มเทือกเขาแดนลาวที่กั้นระหว่างประเทศไทยกับประเทศเมียนมา และติดกับพื้นที่ราบแอ่งเชียงแสนในลุ่มน้ำกก โดยมีภูเขาเรียงต่อกันสามลูกในแนวทิศเหนือ-ใต้ ได้แก่ ดอยจ้อง ปัจจุบันคือดอยนางนอน, ดอยปู่เฒ่า และดอยตุง หรืออีกชื่อหนึ่งในตำนานคือ ดอยดินแดง
พรเทพ เฮง
Apr 234 min read


พระถ้ำเสือ : ข้อสันนิษฐานจากบริบทการสำรวจใน พ.ศ. ๒๕๖๖
‘พระถ้ำเสือ’ ซึ่งมีอัตลักษณ์เป็นพระพิมพ์ดินดิบ ทำจากพิมพ์ฝีมือแบบช่างชาวบ้านที่แกะพิมพ์อย่างหยาบๆ บางพิมพ์ดูผิดสัดส่วนเช่นพระพักตร์ พระเนตร โตผิดปกติ ไม่ใช่พิมพ์ที่นำเข้าหรือถูกแกะพิมพ์อย่างประณีตงดงามดังเช่นพระพิมพ์ที่พบตามเมืองโบราณที่มีการบรรจุในพระสถูปเจดีย์หลายแห่งในเขตลุ่มเจ้าพระยา
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
Apr 234 min read


‘ปราสาทกู่พระโกนา’ ทับหลังศิลปะขอมแบบบาปวน ร่องรอยภูมิวัฒนธรรมการถลุงเหล็กและทำเกลือที่พัฒนาขึ้นสืบเนื่องตามความสัมพันธ์กับการฝังศพครั้งที่สอง
กู่พระโกนา หรือกู่สี่แจ่ง หรือกู่คำกูนา โบราณสถานแห่งนี้เป็นปราสาทแบบเขมรโบราณ แต่ปัจจุบันอยู่ในสภาพที่ถูกดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท สังกัดมหานิกาย ชื่อ วัดกู่พระโกนา ที่นี่เป็นโบราณสถานที่มีการพบทับหลังซึ่งมีเอกลักษณ์โดดเด่นแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะเขมรสมัยบาปวน ในพุทธศตวรรษที่ ๑๖ โดยบริเวณปราสาทด้านทิศเหนือ พบทับหลังภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ รามเกียรติ์ และรูปบุคคลเหนือหน้ากาล
พรเทพ เฮง
Apr 184 min read
bottom of page